ที่มา ABS-CBN
แปลโดย ทีมข่าวไทยอีนิวส์
20 เมษายน 2552
วิกฤติการเมืองไทยบ่งชี้ถึงความแตกแยกที่หยั่งลึก
เหตุการณ์ ซุ่มยิงนายสนธิ ลิ้มทองกุล นักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่สำคัญของไทยไม่กี่วันหลังจากมีการปะทะกัน ระหว่างกองทหารกับผู้ชุมนุมได้เผยโฉมความขัดแย้งที่หม่นหมองในกลุ่มชนชั้น สูงออกมา
เหตุการณ์ล่าสุดของวิกฤติที่ยืดเยื้ออยู่หลายปีในราช อาณาจักรยังไม่บ่งบอกว่าจะเป็นวิกฤตสุดท้าย เพราะทุกรัฐบาลยังเมินเฉยต่อความขัดแย้งทางชนชั้นและส่วนตัวที่หยั่งลึกลง ทุกวันทำให้ความวุ่นวายไม่จบเสียที
มองเผินๆ การประท้วงล่าสุดโดยผู้ที่สนับสนุนอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ที่รู้จักกันในนาม "เสื้อแดง" เป็นการโต้ตอบฝ่ายตรงข้ามซึ่งเป็นพวกนิยมเจ้า "เสื้อเหลือง" ที่โจมตีรัฐบาลที่เป็นพันธมิตรของทักษิณ
นักวิเคราะห์เที่ชี่ยวชาญ ทางเอเซียอาคเนย์ นาย Michael Montesano กล่าวว่า แต่จุดล่มสลายของปัญหาเกิดขึ้นจากการที่ชนชั้นสูงหลายกลุ่มเกรงกลัวว่าพวก เขากำลังสูญเสียอำนาจ และการที่มีการเรียกร้องเพื่อความยุติธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมโดยคนยากจน
“มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นใต้พื้นผิว” กล่าวโดยนาย Montesano จาก National Univerrsity of Singapore
“เรา มีประชาชนที่ได้รับผลประโยชน์น้อยลงทุกวันจากการเติบโตทางเศรษฐกิจแต่ได้รับ ข้อมูลมากขึ้นอย่างไม่มีมาก่อน -- และนี่คือสิ่งที่ทำให้บ่อนทำลายสำหรับอำนาจเก่า”
พันธมิตรฯที่ใส่ เสื้อเหลืองเป็นตัวแทนของกลุ่มชนชั้นสูงเก่าและรวมตัวกันครั้งแรกเพื่อ ต่อสู้กับอิทธิพลของทักษิณในปี 2549 และปัจจัยช่วยทำให้เกิดการรัฐประหารโดยทหารที่โค่นเขาในปีนั้น
แต่ ถึงแม้ว่าจะมีทหารหนุนหลัง ในหลายอาทิตย์ที่ผ่านมาพันธมิตรฯยังได้เรียกร้องให้มีการโยกย้ายทหารและได้ กล่าวหาว่า “บุคคลในเครื่องแบบ” เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการพยายามสังหารผู้นำของพวกเขา นายสนธิ ลิ้มทองกุล เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา
การกล่าวหานี้ยกระดับความซับซ้อนของความขัด แย้งของผู้รักษาความสงบในระดับสูง -- ซึ่งตอนนี้ได้แตกออกมาเป็นทหารของชนชั้นสูงและตำรวจที่สนับสนุนทักษิณ
จาก แหล่งข่าวใกล้ชิดพ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งเป็นอดีตตำรวจ กล่าวว่าการที่เขาเข้ามามีบทบาททางการเมืองจากภาคเหนือซึ่งเป็นที่ที่เขาริ เริ่มธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ได้เขย่าขวัญอำนาจเก่าของชนชั้นสูงซึ่งรู้สึกว่าเขาแย่งชิงผลประโยชน์ในส่วน ของพวกเขาไป
พ.ต.ท.ทักษิณได้ถูกกล่าวหาและต่อมาถูกตัดสินว่ากระทำผิด จากการคอร์รับชั่น แต่ข้อกล่าวหาที่ร้ายแรงกว่านั่นคือการท้าทายสถาบันกษัตริย์ที่เป็นที่เคารพ รักและปกป้องโดยกฏหมายหมิ่นที่เคร่งครัด ได้ถูกนำมาใช้ช่วงแรกแต่ไม่มีมูล กล่าวโดยผู้เขียนประวัติส่วนตัวของเขา นาย Chris Baker
แต่หลังจาก นั้น ทักษิณได้ถูกผลักให้ไปสู่สภาวะล่อแหลม นาย Baker กล่าว ด้วยทรัพย์สินมูลค่า 2 พันล้านดอลลาร์ที่ถูกยึดโดยรัฐและไม่สามารถกลับสู่ประเทศเพราะเขาได้รับโทษ จำคุก ทำให้เขายิ่งเป็นนักปฏิวัติเพิ่มมากขึ้น
“พวกเขา (ชนชั้นสูงเก่า) อยู่ในสภาวะอันตรายจากการกระทำของพวกเขาเอง” เขากล่าว “แน่นอนตอนนี้... ทักษิณดูเป็นนักปฏิวัติจริงๆ”
ใน ระหว่างการชุมนุมครั้งล่าสุดโดย “เสื้อแดง” พ.ต.ท.ทักษิณได้กระตุ้นให้เกิดการโต้เถียงอย่างรุนแรงโดยการกล่าวหาที่ ปรึกษาที่สำคัญ 2 คนของกษัตริย์ภูมิพลอดุลยเดช อดีตนายกฯ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ และ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท์ ว่าอยู่เบื้องหลังการก่อให้เกิดการรัฐประหารปี 2549
การกล่าวโทษที่ใกล้สถาบันฯอย่างนั้นถูกประณามโดยรัฐบาลและทหารอย่างรวดเร็ว
“ทุกคนทราบดีว่ามีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับสถาบันฯนี้และไม่สามารถพูดถึงได้” นาย Montesano กล่าว
แต่ คนไทยที่มีฐานะยากจนกว่าที่บุกเข้าไปในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อสุด สัปดาห์ที่แล้วก่อนที่จะขัดขืนภาวะฉุกเฉินด้วยการต่อสู้บนถนนกับทหาร ไม่ได้อยู่ที่นั่นเพื่อทักษิณอย่างเดียว แต่เพื่อต้องการความยุติธรรมด้วย นักวิเคราะห์ทั้งหลายเห็นด้วย
การอพยพของพวกเขาเข้ามาในเมืองจากใจ กลางชนบทในสองทศวรรษที่ผ่านมาได้เผยให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของสังคม และเศรษฐกิจและทำให้การเมืองของคนยากจนยิ่งซับซ้อนขึ้น และกระตุ้นโดยทักษิณในช่วงความวุ่นวายที่เกิดขึ้นระยะหลัง
“ที่เรา กำลังเห็นระอุอยู่บนพื้นผิว... เป็นการเรียกร้องที่หนักแน่นจาก ‘เสื้อแดง’ ว่านี่เป็นสังคมที่ไม่ยุติธรรมและพวกเราทนไม่ได้อีกแล้ว”
“มันไม่ค่อยระอุขึ้นมาบนพื้นผิว แต่เมื่อมันเกิดขึ้นมันค่อนข้างจะน่ากลัว” นาย Baker กล่าว
แต่ นักประวัติศาสร์การเมือง นาย David Streckfuss กล่าวว่า การเยียวยาความแตกแยกของประเทศไทยนั้นต้องมีการปรับปรุงรัฐธรรมนูญใหม่และ การก่อตั้งคณะกรรมการหาข้อเท็จจริง
“การมีรัฐธรรมนูญใหม่มันก็ดี แต่ควรกลับไปและจัดการกับรัฐธรรมนูญนั้นและมีการพิจารณาร่วมกันเพื่อพิพากษา ประวัติศาสตร์ (a day of reckoning with history) ไม่ว่าจะเป็นการตั้งคณะกรรมการเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงหรืออะไรก็แล้วแต่”
“ประเทศไทยไม่ค่อยมีเวลาให้กับการพิพากษาร่วมกัน (a time of great reckoning)”
Thai political crisis points at deep divisions
Agence France- Presse 04/19/2009
BANGKOK - A gun attack on a leading Thai activist days after bloody battles between troops and protesters in Bangkok has brought the murky rifts among Thailand's elites to the surface, analysts say.
The most recent episode in the kingdom's years-long political crisis shows no sign of being the last, they say, as each administration has ignored the deepening class conflict and personal clashes underpinning the turmoil.
At first glance, recent protests by supporters of former premier Thaksin Shinawatra, known as "Red Shirts", were a reaction to a rival campaign by the royalist "Yellow Shirts" last year that targeted his allies in government.
But a melting pot of problems exists based on the fears of various elites that their power is being weakened, and the demands by poorer Thais for economic and social justice, said Southeast Asian analyst Michael Montesano.
"There's a lot going on beneath the surface," said Montesano from the National University of Singapore.
"You have people who have benefitted less and less from economic growth but are better informed than ever about it -- and this is very corrosive for the old order."
The yellow-shirted PAD represent traditional Thai elites and first formed to fight Thaksin's authority in 2006, helping to trigger the military coup that ousted him later that year.
But despite army backing, the PAD in recent weeks have called for a shake-up within army ranks and have pointed the finger at "men in uniform" for an assassination attempt on their leader Sondhi Limthongkul on Friday.
The accusation raises the specter of further complications in relations between the top tiers of Thai security forces -- which in rough terms have been split up to now between the elitist military and the pro-Thaksin police.
Sources close to Thaksin, a former police officer, say his arrival from the country's north, where he launched his successful business career, rattled Bangkok's old elites, who felt he was taking their share of the pie.
Thaksin was accused and later convicted of corruption, but graver charges of challenging the revered monarchy, protected by tight defamation laws, were levied and originally unfounded, said his biographer Chris Baker.
"Thaksin is a businessman who wants to make money -- why would he get involved in politics of that stupidity?" said Baker.
But since then Thaksin has been pushed to the brink, said Baker, with his two-billion-dollar fortune frozen by the state and unable to return to Thailand where he would face a prison term, making him increasingly revolutionary.
"They (old elites) have been hoisted by their own petard," he said. "Now of course... he basically is quite a revolutionary."
During recent rallies by the "Red Shirts", Thaksin provoked controversy by accusing two key aides of King Bhumibol Adulyadej, ex-premiers General Prem Tinsulanonda and General Surayud Chulanont, of triggering the 2006 coup.
The laying of blame so close to the monarchy was quickly condemned by the government and military.
"Everybody knows there's an uncertainty surrounding that institution and it can't be discussed," said Montesano.
But the poorer Thais who stormed an Asian summit last weekend before defying a state of emergency to fight street battles with soldiers in Bangkok, were not simply there for Thaksin, but also for a greater desire for justice, analysts agreed.
Their mass migration from the rural heartlands in the past two decades has exposed social and economic inequalities and made the poor increasingly politically sophisticated, egged on by Thaksin during the latest unrest.
"What we begin to see bubbling to the surface... is a very strong call by 'Red Shirts' to say this is a very unfair society and we are fed up with it.
"It so rarely bubbles to the surface that when it does it's really quite scary," said Baker.
But political historian David Streckfuss said that to heal Thailand's divisions, there needed to be a reworking of the country's constitution and some form of truth commission.
"A new constitution's OK. But go back, deal with laws in conflict with that constitution and also have the day of reckoning with history, where there's a truth commission or whatever," he said.
"Thailand has never really had a time of great reckoning."
แปลโดย ทีมข่าวไทยอีนิวส์
20 เมษายน 2552
วิกฤติการเมืองไทยบ่งชี้ถึงความแตกแยกที่หยั่งลึก
เหตุการณ์ ซุ่มยิงนายสนธิ ลิ้มทองกุล นักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่สำคัญของไทยไม่กี่วันหลังจากมีการปะทะกัน ระหว่างกองทหารกับผู้ชุมนุมได้เผยโฉมความขัดแย้งที่หม่นหมองในกลุ่มชนชั้น สูงออกมา
เหตุการณ์ล่าสุดของวิกฤติที่ยืดเยื้ออยู่หลายปีในราช อาณาจักรยังไม่บ่งบอกว่าจะเป็นวิกฤตสุดท้าย เพราะทุกรัฐบาลยังเมินเฉยต่อความขัดแย้งทางชนชั้นและส่วนตัวที่หยั่งลึกลง ทุกวันทำให้ความวุ่นวายไม่จบเสียที
มองเผินๆ การประท้วงล่าสุดโดยผู้ที่สนับสนุนอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ที่รู้จักกันในนาม "เสื้อแดง" เป็นการโต้ตอบฝ่ายตรงข้ามซึ่งเป็นพวกนิยมเจ้า "เสื้อเหลือง" ที่โจมตีรัฐบาลที่เป็นพันธมิตรของทักษิณ
นักวิเคราะห์เที่ชี่ยวชาญ ทางเอเซียอาคเนย์ นาย Michael Montesano กล่าวว่า แต่จุดล่มสลายของปัญหาเกิดขึ้นจากการที่ชนชั้นสูงหลายกลุ่มเกรงกลัวว่าพวก เขากำลังสูญเสียอำนาจ และการที่มีการเรียกร้องเพื่อความยุติธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมโดยคนยากจน
“มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นใต้พื้นผิว” กล่าวโดยนาย Montesano จาก National Univerrsity of Singapore
“เรา มีประชาชนที่ได้รับผลประโยชน์น้อยลงทุกวันจากการเติบโตทางเศรษฐกิจแต่ได้รับ ข้อมูลมากขึ้นอย่างไม่มีมาก่อน -- และนี่คือสิ่งที่ทำให้บ่อนทำลายสำหรับอำนาจเก่า”
พันธมิตรฯที่ใส่ เสื้อเหลืองเป็นตัวแทนของกลุ่มชนชั้นสูงเก่าและรวมตัวกันครั้งแรกเพื่อ ต่อสู้กับอิทธิพลของทักษิณในปี 2549 และปัจจัยช่วยทำให้เกิดการรัฐประหารโดยทหารที่โค่นเขาในปีนั้น
แต่ ถึงแม้ว่าจะมีทหารหนุนหลัง ในหลายอาทิตย์ที่ผ่านมาพันธมิตรฯยังได้เรียกร้องให้มีการโยกย้ายทหารและได้ กล่าวหาว่า “บุคคลในเครื่องแบบ” เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการพยายามสังหารผู้นำของพวกเขา นายสนธิ ลิ้มทองกุล เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา
การกล่าวหานี้ยกระดับความซับซ้อนของความขัด แย้งของผู้รักษาความสงบในระดับสูง -- ซึ่งตอนนี้ได้แตกออกมาเป็นทหารของชนชั้นสูงและตำรวจที่สนับสนุนทักษิณ
จาก แหล่งข่าวใกล้ชิดพ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งเป็นอดีตตำรวจ กล่าวว่าการที่เขาเข้ามามีบทบาททางการเมืองจากภาคเหนือซึ่งเป็นที่ที่เขาริ เริ่มธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ได้เขย่าขวัญอำนาจเก่าของชนชั้นสูงซึ่งรู้สึกว่าเขาแย่งชิงผลประโยชน์ในส่วน ของพวกเขาไป
พ.ต.ท.ทักษิณได้ถูกกล่าวหาและต่อมาถูกตัดสินว่ากระทำผิด จากการคอร์รับชั่น แต่ข้อกล่าวหาที่ร้ายแรงกว่านั่นคือการท้าทายสถาบันกษัตริย์ที่เป็นที่เคารพ รักและปกป้องโดยกฏหมายหมิ่นที่เคร่งครัด ได้ถูกนำมาใช้ช่วงแรกแต่ไม่มีมูล กล่าวโดยผู้เขียนประวัติส่วนตัวของเขา นาย Chris Baker
แต่หลังจาก นั้น ทักษิณได้ถูกผลักให้ไปสู่สภาวะล่อแหลม นาย Baker กล่าว ด้วยทรัพย์สินมูลค่า 2 พันล้านดอลลาร์ที่ถูกยึดโดยรัฐและไม่สามารถกลับสู่ประเทศเพราะเขาได้รับโทษ จำคุก ทำให้เขายิ่งเป็นนักปฏิวัติเพิ่มมากขึ้น
“พวกเขา (ชนชั้นสูงเก่า) อยู่ในสภาวะอันตรายจากการกระทำของพวกเขาเอง” เขากล่าว “แน่นอนตอนนี้... ทักษิณดูเป็นนักปฏิวัติจริงๆ”
ใน ระหว่างการชุมนุมครั้งล่าสุดโดย “เสื้อแดง” พ.ต.ท.ทักษิณได้กระตุ้นให้เกิดการโต้เถียงอย่างรุนแรงโดยการกล่าวหาที่ ปรึกษาที่สำคัญ 2 คนของกษัตริย์ภูมิพลอดุลยเดช อดีตนายกฯ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ และ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท์ ว่าอยู่เบื้องหลังการก่อให้เกิดการรัฐประหารปี 2549
การกล่าวโทษที่ใกล้สถาบันฯอย่างนั้นถูกประณามโดยรัฐบาลและทหารอย่างรวดเร็ว
“ทุกคนทราบดีว่ามีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับสถาบันฯนี้และไม่สามารถพูดถึงได้” นาย Montesano กล่าว
แต่ คนไทยที่มีฐานะยากจนกว่าที่บุกเข้าไปในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อสุด สัปดาห์ที่แล้วก่อนที่จะขัดขืนภาวะฉุกเฉินด้วยการต่อสู้บนถนนกับทหาร ไม่ได้อยู่ที่นั่นเพื่อทักษิณอย่างเดียว แต่เพื่อต้องการความยุติธรรมด้วย นักวิเคราะห์ทั้งหลายเห็นด้วย
การอพยพของพวกเขาเข้ามาในเมืองจากใจ กลางชนบทในสองทศวรรษที่ผ่านมาได้เผยให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของสังคม และเศรษฐกิจและทำให้การเมืองของคนยากจนยิ่งซับซ้อนขึ้น และกระตุ้นโดยทักษิณในช่วงความวุ่นวายที่เกิดขึ้นระยะหลัง
“ที่เรา กำลังเห็นระอุอยู่บนพื้นผิว... เป็นการเรียกร้องที่หนักแน่นจาก ‘เสื้อแดง’ ว่านี่เป็นสังคมที่ไม่ยุติธรรมและพวกเราทนไม่ได้อีกแล้ว”
“มันไม่ค่อยระอุขึ้นมาบนพื้นผิว แต่เมื่อมันเกิดขึ้นมันค่อนข้างจะน่ากลัว” นาย Baker กล่าว
แต่ นักประวัติศาสร์การเมือง นาย David Streckfuss กล่าวว่า การเยียวยาความแตกแยกของประเทศไทยนั้นต้องมีการปรับปรุงรัฐธรรมนูญใหม่และ การก่อตั้งคณะกรรมการหาข้อเท็จจริง
“การมีรัฐธรรมนูญใหม่มันก็ดี แต่ควรกลับไปและจัดการกับรัฐธรรมนูญนั้นและมีการพิจารณาร่วมกันเพื่อพิพากษา ประวัติศาสตร์ (a day of reckoning with history) ไม่ว่าจะเป็นการตั้งคณะกรรมการเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงหรืออะไรก็แล้วแต่”
“ประเทศไทยไม่ค่อยมีเวลาให้กับการพิพากษาร่วมกัน (a time of great reckoning)”
Thai political crisis points at deep divisions
Agence France- Presse 04/19/2009
BANGKOK - A gun attack on a leading Thai activist days after bloody battles between troops and protesters in Bangkok has brought the murky rifts among Thailand's elites to the surface, analysts say.
The most recent episode in the kingdom's years-long political crisis shows no sign of being the last, they say, as each administration has ignored the deepening class conflict and personal clashes underpinning the turmoil.
At first glance, recent protests by supporters of former premier Thaksin Shinawatra, known as "Red Shirts", were a reaction to a rival campaign by the royalist "Yellow Shirts" last year that targeted his allies in government.
But a melting pot of problems exists based on the fears of various elites that their power is being weakened, and the demands by poorer Thais for economic and social justice, said Southeast Asian analyst Michael Montesano.
"There's a lot going on beneath the surface," said Montesano from the National University of Singapore.
"You have people who have benefitted less and less from economic growth but are better informed than ever about it -- and this is very corrosive for the old order."
The yellow-shirted PAD represent traditional Thai elites and first formed to fight Thaksin's authority in 2006, helping to trigger the military coup that ousted him later that year.
But despite army backing, the PAD in recent weeks have called for a shake-up within army ranks and have pointed the finger at "men in uniform" for an assassination attempt on their leader Sondhi Limthongkul on Friday.
The accusation raises the specter of further complications in relations between the top tiers of Thai security forces -- which in rough terms have been split up to now between the elitist military and the pro-Thaksin police.
Sources close to Thaksin, a former police officer, say his arrival from the country's north, where he launched his successful business career, rattled Bangkok's old elites, who felt he was taking their share of the pie.
Thaksin was accused and later convicted of corruption, but graver charges of challenging the revered monarchy, protected by tight defamation laws, were levied and originally unfounded, said his biographer Chris Baker.
"Thaksin is a businessman who wants to make money -- why would he get involved in politics of that stupidity?" said Baker.
But since then Thaksin has been pushed to the brink, said Baker, with his two-billion-dollar fortune frozen by the state and unable to return to Thailand where he would face a prison term, making him increasingly revolutionary.
"They (old elites) have been hoisted by their own petard," he said. "Now of course... he basically is quite a revolutionary."
During recent rallies by the "Red Shirts", Thaksin provoked controversy by accusing two key aides of King Bhumibol Adulyadej, ex-premiers General Prem Tinsulanonda and General Surayud Chulanont, of triggering the 2006 coup.
The laying of blame so close to the monarchy was quickly condemned by the government and military.
"Everybody knows there's an uncertainty surrounding that institution and it can't be discussed," said Montesano.
But the poorer Thais who stormed an Asian summit last weekend before defying a state of emergency to fight street battles with soldiers in Bangkok, were not simply there for Thaksin, but also for a greater desire for justice, analysts agreed.
Their mass migration from the rural heartlands in the past two decades has exposed social and economic inequalities and made the poor increasingly politically sophisticated, egged on by Thaksin during the latest unrest.
"What we begin to see bubbling to the surface... is a very strong call by 'Red Shirts' to say this is a very unfair society and we are fed up with it.
"It so rarely bubbles to the surface that when it does it's really quite scary," said Baker.
But political historian David Streckfuss said that to heal Thailand's divisions, there needed to be a reworking of the country's constitution and some form of truth commission.
"A new constitution's OK. But go back, deal with laws in conflict with that constitution and also have the day of reckoning with history, where there's a truth commission or whatever," he said.
"Thailand has never really had a time of great reckoning."
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น